::: Lannaparty ::: Design Wellcome - SWK-Animation
   
  Lannaparty Home
  เมืองเก่าเวียงท่ากาน
  สันป่าตองวิทยาคมเชียงใหม่
  Admission 2008
  SWK-Animation
  => คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน
  New ! ประชาสัมพันธ์ New !
  ข่าวท้องถิ่น-News
  หางานทำประจำวัน New
  TV Online
  Raio Online
  เว็บไซต์เพื่อนบ้านล้านนา
  ประเพณียี่เป็งล้านนา Hithot
  ๘๐ ล้านดวงใจร่วมกันทำดีเพื่อพ่อ
  อาณาจักรล้านนา
  สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ม.ช.
  อักษรล้านนา Lanna Font
  เยี่ยมชม-ความคิดเห็น
  About Member

Wellcome to Animation Sanpatong Wittayakom Club.
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ชมรมแอนิเมชันฯ สันป่าตองวิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่
SWK-SOFTWARE & ANIMATION  Club.



ขอแสดงความยินดี
นางสาวชรินรัตน์ รุ่งเรืองศรี สมาชิกชมรมแอนิเมชันฯ
ที่สอบติดโครงการพิเศษมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
12-12-2550

ประกาศจากชมรม

ขณะนี้ทางชมรมแอนิเมชันและซอฟท์แวร์สันป่าตองวิทยาคม จะได้จัดทำเสื้อของชมรมฯ
สมาชิกที่สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ ที่ประธานชมรมฯ

รายละเอียดเสื้อแบบคร่าวๆ
เสื้อจะเป็นเสื้อของชมรมรมฯ ลักษณะเป็นเสื้อshopแขนยาว มีกระเป๋าเสื้อด้านหน้า
ที่กระเป๋าเสื้อจะสกินรูปสัญลักษณ์ชมรม ด้านหลังจะเป็นสกินชื่อชมรมฯและรุ่น
ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ ที่ประธานชมรมฯ

แจ้งประกาศ 23-11-2550 โดย Admin

เว็บไซต์หน้านี้เป็นหน้าเว็บไซต์ชั่วคราวของชมรมฯ

จำนวนผู้เข้ามาชมหน้านี้

ตั้งแต่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐

http://www.lannaparty.page.tl/SWK_Animation-.htm
http://www.pakakeerathi.page.tl/SWK_Animation.htm

Copyright © 2007-2008 by www.lannaparty.page.tl of Lanna All rights reserved.
สมัครสมาชิกชมรมที่
lannaparty@hotmail.com 
เฉพาะนักเรียนโรงเรียนสันป่าตองวิทยาคม เท่านั้น 
ตรวจสอบรายชื่อการสมัครสมาชิกด้านล่างของหน้าเว็บ
 

ผลงานแอนิเมชัน
ฝากประกาศจากสมาชิกของชมรมฯ จาก นายวิทวัส โอ๊ดฟู  ม.608

เรื่องราวมีอยู่ว่าผมนี้อ่ะ ได้ ส่งงานแอนิเมชัน ไปประกวด 
และจะประกาศ ผลประกวด วันจันทร์ ที่ 12 พ.ย.นี้ 
อยากจะให้ ทุกคนมาช่วยโหวตด้วย ที่ www.3forfun.com


อันนี้ของเราเอง อิอิ ได้ คะแนนนิสเดว ช่วยเข้าไปโหวตที


ของน้อง กัญญารัตน์ 4/2 ช่วยการโหวตที


ความรู้เกี่ยวกับแอนิเมชันเบื้องต้น

        แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลายๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูง เช่น จำนวน 50 เฟรมต่อวินาที

        การใช้ Computer Graphic ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือ คอมพิวเตอร์แอนิเมชันหากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือ หรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด หรือ สตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้วไม่ว่าจะสร้างภาพหรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตามเมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็วตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่าภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา

ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต ได้แก่เก็บในรูปแบบแฟ้มข้อมูลสกุล Gif, Mng, Svg, Flash 

        อะนิเมะ (「アニメ」, anime, アニメ?) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชัน (animation) ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศส อะนิเม (animé) และจากภาษาละติน อะนิมะ (anima) แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอนๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอนๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดีโอเทป ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้วย

ประวัติแอนิเมชัน
        เมื่อต้นคริสตศตวรรษที่ 20 นักสร้างภาพยนตร์ชาวญี่ปุ่นเริ่มทดลองใช้เทคนิคการสร้างภาพยนตร์การ์ตูนซึ่งกำลังถูกพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกาเพื่อสร้างภาพยนตร์การ์ตูนของตนเอง ในทศวรรษที่ 1970 ภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่นได้พัฒนาลักษณะเฉพาะตัวขึ้นจนสามารถแบ่งแยกออกจากภาพยนตร์การ์ตูนของสหรัฐอเมริกาได้อย่างชัดเจน ยกตัวอย่างเช่นภาพยนตร์การ์ตูนหุ่นยนต์ยักษ์ซึ่งไม่สามารถหาได้ในสหรัฐอเมริกาเลย ในทศวรรษที่ 1980 อะนิเมะได้รับความนิยมกว้างขวางในญี่ปุ่น ทำให้ธุรกิจการสร้างอะนิเมะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และในทศวรรษที่ 1990 และ 2000 ชื่อเสียงของอะนิเมะได้แพร่ขยายไปยังนอกประเทศญี่ปุ่น พร้อมๆ กับการขยายตัวของตลาดอะนิเมะนอกประเทศ

คำว่าแอนิเมชัน
        "อะนิเมะ" (アニメ, /ɑnim/) เป็นคำย่อของ アニメーション (คำอ่าน: อะนิเมชอง, IPA: /ɑnimːn/) ซึ่งเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ(สังเกตได้ว่าเขียนเป็นคะตะคะนะ) "แอนิเมชัน" (animation) ซึ่งหมายความถึงภาพยนตร์การ์ตูน คำทั้งสองคำนี้สามารถใช้แทนกันได้ในภาษาญี่ปุ่น อย่างไรก็ดีรูปย่อเป็นที่นิยมใช้มากกว่า คำว่า "อะนิเมะ" มีขอบเขตกว้างครอบคลุมภาพยนตร์การ์ตูนทั้งหมด ไม่จำกัดอยู่ที่แนวหรือรูปแบบของภาพยนตร์การ์ตูนใดๆ "เจแปนิเมชัน" (Japanimation) ซึ่งเกิดจากการผสมคำว่า "เจแปน" (Japan) กับ "แอนิเมชัน" เป็นคำอีกคำที่มีความหมายเหมือน "อะนิเมะ" คำนี้นิยมใช้กันมากในทศวรรษที่ 1970 และ 1980 แต่มีคนใช้น้อยลงตั้งแต่ปี 1990 และหมดความนิยมลงก่อนกลางทศวรรษที่ 1990 ในปัจจุบันคำนี้ถูกใช้อยู่แค่ในประเทศญี่ปุ่นเพื่อแบ่งแยกระหว่างภาพยนตร์การ์ตูนทั่วๆ ไป (ซึ่งคนญี่ปุ่นเรียกรวมๆ ว่า "อะนิเมะ") และภาพยนตร์การ์ตูนที่ผลิตภายในประเทศ ภาษาไทยในสมัยก่อนใช้คำว่า "ภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่น" แทนอะนิเมะ คำทับศัพท์ "อะนิเมะ" นั้นไม่ค่อยเป็นที่นิยมใช้ เเต่ปัจุบันคำว่า "อนิเมะ" หรือ "อะนิเมะ" นั้นกลับเป็นคำที่นิยมในหมู่เด็กวัยรุ่นไทยที่ชื่นชอบการ์ตูนญี่ปุ่น ใช้เรียกเเทนคำว่า"ภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่น"ของสมัยอดีต
 


 

รายชื่อสมาชิกชมรมแอนิเมชันและซอฟท์แวร์ สันป่าตองวิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2550 รุ่น 1

1.นายศุภกิตติ์      คุณา                ม.602 ประธานชมรมแอนิเมชัน
2.นายจิระสันต์     สติคำ               ม.603 รองประธานชมรมแอนิเมชัน
3.นายพีระพงษ์     แสนจันทร์        ม.603
4.นายธีรยุทธ       ทะอินทร์           ม.603
5.นายศักย์ปณชัย เกศสิชาปกรณ์    ม.602 ประธานชมรมซอฟท์แวร์ & ไอที
6.นางสาวชรินรัตน์ รุ่งเรืองศรี          ม.601
7.นายวิทวัส        โอ๊ดฟู                ม.608
8.นายธรรมนูญ    นวลสุภา            ม.608
9.นางสาวธีรวรรณ มะโนวรรณา       ม.601

ประกาศเมื่อ 12-12-2550
รายชื่อนักเรียนชั้น ม.4 และ ม.5 กำลังจัดระบบรายชื่อ

สมัครสมาชิกที่ lannaparty@hotmail.com 

   
Today, there have been 3 visitors (12 hits) on this page!
This website was created for free with Own-Free-Website.com. Would you also like to have your own website?
Sign up for free